หลักการป้องกันขั้นต้นจากโรค COVID-19 ฉบับปรับปรุง

เชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ที่มีชื่อทางการในปัจจุบันว่า SARS-CoV-2 ก่อให้เกิดโรคที่เรียกว่า COVID-19 • เชื้อไวรัสโคโรนานั้นเป็นโรคติดต่อที่มีอัตราการแพร่เชื้อสูงมากในกลุ่มคน • อาการของโรคมีอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่หรือเป็นไข้ จากนั้นอาจก่อให้เกิดปัญหาระบบทางเดินหายใจอย่างรุนแรง • COVID-19 o ก่อให้เกิดภาวะที่รุนแรงสำหรับระบบทางเดินหายใจ ทำให้หายใจลำบาก o บางกรณีอาจส่งผลต่อหัวใจและสร้างความเสียหายต่อกล้ามเนื้อหัวใจ •ทุกคนอาจติดโรค COVID-19 ได้แต่มีผลกระทบต่อรางกายที่แตกต่างกันออกไป o ผู้ติดเชื้อบางรายมีอาการไม่รุนแรงคล้ายเป็นไข้หวัดใหญ่และฟื้นตัวได้เร็ว o แต่ผู้ติดเชื้อรายอื่นๆมีอาการเจ็บปวดและเป็นไข้หวัดใหญ่ที่รุนแรง o อาจถึงแก่ชีวิตได้สำหรับผู้ติดเชื้อบางราย  COVID-19 อาจถึงแก่เสียชีวิตสำหรับบุคคลเหล่านี้: •ผู้สูงอายุ •มีระบบภูมิคุ้มกันบกพร่องหรืออ่อนแอ •มีโรคที่เป็นอยู่แต่เดิม •ได้รับการรักษาช้าไป •ไม่ได้รับสารอาหารที่เพียงพอและ / หรือที่อยู่อาศัยที่ดีพอ •ไม่สามารถเข้าถึงประกันสุขภาพที่ดีหรือไม่สามารถจ่ายให้กับการบริการทางแพทย์ได้ • อาการของผู้ติดเชื้อ COVID-19 รวมถึงเป็นไข้ ไอ เจ็บคอ ท้องเสีย ปวดศีรษะ ปวดตามร่างกายและสูญเสียความสามารถในการรับกลิ่น • ผู้ที่ติดเชื้อ COVID-19 อาจมีอาการทั้งหมดหรือมีอาการเพียงไม่กี่อย่างก็ได้ • ผู้ติดเชื้อ COVID-19 ทุกคนไม่จำเป็นว่าจะต้องสูญเสียความสามารถในการรับกลิ่น              o ดังนั้น การตรวจหาโรคโดยใช้ความสามารถในการรับกลิ่นเป็นหลักนั้นเชื่อถือไม่ได้Continue reading “หลักการป้องกันขั้นต้นจากโรค COVID-19 ฉบับปรับปรุง”

ការបង្ការ អំពីវិបត្តិស្បៀងអាហារសកលលោក –

ការការពារ ​សិទ្ធិ និង​ជីវភាពរស់នៅសមរម្យ របស់កម្មករ ដែលចិញ្ចឹមមនុស្សទូទាំងពីភពលោក ទិវាស្បៀងអាហារពិភពលោកឆ្នាំ២០២០ នៅខែមិថុនា ឆ្នាំ២០២០ អង្គការសហប្រជាជាតិតបានព្រមានថាយើងនឹងជួបវិបត្តិដ៏ធ្ងន់ធ្ងរនូវការខ្វះស្បៀងអាហារ ទូទាំងសកលលោកនៅរយៈពេល៥០ឆ្នាំទៀត។ ការរីករាលដាលនៃជំងឺកូវីដ- ១៩​ បានរងផលប៉ះពាល់ដល់ការផ្គត់ផ្គង់ស្បៀងអាហារគ្រប់បណ្តារប្រទេសទាំងអស់ ជាមួយនឹងការរិតបន្តឹងនិងជាការរំខានដល់ការធ្វើដំណើររបស់ពលរដ្ឋព្រមទាំងការបិតច្រកព្រំដែនបង្ករឲ្យមានការខ្វះខាតនិងការដំឡើងថ្លៃទំនិញផងដែរ។ ទន្ទឹមនឹងការដំឡើងថ្លៃអាហារនៅទីក្រុង វិបត្តិសកលមួយនេះបានរុញច្រាន​ឲ្យ​ពលរដ្ឋដែលងាយរងគ្រោះនៅតាមសហគមន៏បានធ្លាក់ខ្លួនកាន់តែជ្រៅទៅក្នុងភាពក្រីក្រនិងបំណុល។ ការរំខាននៃការដឹកជញ្ជូន និងការជះឥទ្ធិពលដល់ការចែកចាយផលិតផលកសិកម្ម និងការលក់ផលដំណាំដែលបង្ករការខ្វះខាតនៅតាមទីក្រុង និងការផលិតលើសចំនួននៅតាមស្រែចម្ការ។ ការផលិតកសិផលលើសចំនួន គឺត្រូវបោះចោលឬកម្ទេចចោលមួយចំនួនធំខណៈពេលដែលមនុស្សរាប់លាននាក់កំពុងតែស្រែកឃ្លាន ។ មនុស្សរាប់សិបលាននាក់នៅក្នុងវិស័យក្រៅប្រព័ន្ធ ដូចជាអ្នកលក់ដូរតាមដងផ្លូវ កម្មករផលិតម្ហូបអាហារតាមផ្ទះនៅក្នុងតំបន់ បានបាត់បង់នូវជីវភាពរស់នៅសមរម្យរបស់ពួកគេ។​ កម្មករតាមរដូវកាលនិងពលករចំណាកស្រុក​ប្រឈមទៅនឹងការរិតបណ្តឹងនៃការធ្វើដំណើរបង្ករឲ្យមានការខ្វះខាតកម្លាំងពលកម្ម​នៅតាម កសិដ្ឋាននិងនៅតាមចម្ការ។ ទាំងនេះគឺជាការគំរាមកំហែងដល់ការបាត់បង់ប្រាក់ឈ្នួលនិងការរស់នៅសមរម្យរបស់កម្មករនិងគ្រួសាររបស់ពួកគេ និងនាំឲ្យពួកគេមានហានិភ័យកាន់តែខ្ពស់ នៅកំឡុងពេលនៃការរីករាលដាលនៃជំងឺនេះថែមទៀត។ នៅក្នុងកំឡុងពេលដែលមានជំងឺរាតត្បាតនេះ កម្មករដែលធ្វើការនៅកន្លែងកែច្នៃអាហារត្រីសាច់ និងឧស្សាហកម្មផលិតភេសជ្ជៈ ត្រូវបានទទួលស្គាល់ថាជាកម្មករសំខាន់ ដែលបានផ្គត់ផ្គង់ទៅដល់ពលរដ្ឋដែលនៅជាប់គាំង។ កម្មករដែលស្ថិតក្នុងវិស័យចាំបាច់តែមិនត្រូវបានចាត់ទុកថាជាមនុស្សសំខាន់។ ការបដិសេធ ក្នុងការទទួលស្គាល់ នូវការរួមចំណែករបស់ពួក ត្រូវបានផ្តល់តំលៃទាបឬមិនត្រូវបានគេទទួលស្គាល់។ នៅក្នុងកំឡុងពេលដែលមានជំងឺរាតត្បាតសកលនេះពួកក្រុមថៅកែជាច្រើនបានផ្លាស់ប្តូរយ៉ាងឆាប់រហ័សក្នុងការការពារនិងកំរិតដល់ការខូចមុខមាត់និងផ្លាកយីហោពួកគេ ខណៈពេលដែលមានការ យឺតយាវក្នុងការកំរិតនៃការការពារការរីករាលដាលនិងការឆ្លងជំងឺកូវីដ-១៩ទៅដល់កម្មករនិយោជិត។ សូមប្បីតែសន្តិសុខការងាររបស់កម្មករក៏មិនត្រូវបានការពារតែពួកគេត្រូវប្រឈមទៅនឹងហានិភ័យកាន់តែច្រើនជាមួយនឹងការប្រជែងការងារពីកំលាំងពលកម្មខាងក្រៅនិងកម្មករស៊ីឈ្នួលម្តងម្កាលកើនឡើងកាន់តែច្រើនផងដែរ។ ឧស្សហកម្មកែច្នៃអាហារសាច់បានបង្ហាញប្រាប់ពិភពលោកថា៖កម្មករគឺជាជនងាយរងគ្រោះពីផលចំនណញបប៉ុន្តែមិនត្រូវបានធានាពីសុវត្ថិភាពនោះទេ។ សូម្បីតែពេលផ្ទុះឡើងនៃរោគរាតត្បាត ម្ហូបអាហារនិងភេសជ្ជៈត្រូវបានកើនឡើង​ រដ្ឋាភិបាលនិងនិយោជកនៅបណ្តាលប្រទេសមួយចំនួន បានធ្វើការវាយប្រហារដល់សហជីពព្រមទាំងរកគ្រប់ឳកាសដើម្បីដាក់ទណ្ឌកម្មលើកម្មករដែលចូលជាសមាជិកសហជីព។ សហជីពបានធ្វើការប្រយុទ្ធដើម្បីទទួលបានសិទ្ធិ និងសុវត្តិភាពនៅកន្លែងការងារ ខណៈពេលដែលសមាជិករបស់ពួកគេជាអ្នកចឹញ្ចឹមមនុស្សទូទាំងពិភពលោក។ ដើម្បីឆ្លើយតបទៅនឹងការកើនឡើងនៃវិបត្តិនេះ​Continue reading “ការបង្ការ អំពីវិបត្តិស្បៀងអាហារសកលលោក –”

ป้องกันวิกฤติการณ์อาหารโลก –

ปกป้องสิทธิ & วิถีชีวิตของแรงงานผู้ผลิตอาหารสู่โลก วันอาหารโลก ปี 2563 ในเดือนมิถุนายน ปี 2563 องค์การสหประชาชาติออกมาเตือนว่าเรากำลังเผชิญกับวิกฤตอาหารโลกที่ย่ำแย่ที่สุดในรอบ 50 ปี การระบาดของโควิด-19 ทำให้เกิดข้อจำกัดในการเดินทาง การขนส่งและการกระจายสินค้าซึ่งส่งผลกระทบต่อห่วงโซ่อุปทานอาหารในทุกประเทศ การปิดพรมแดนทำให้เกิดภาวะสินค้าขาดแคลนและทำให้สินค้าราคาสูงขึ้น ในขณะที่ราคาอาหารเพิ่มสูงขึ้นในเมืองต่างๆ การระบาดของโรคก็ทำให้ชุมชนชนบทที่เปราะบางยากจนและเป็นหนี้สิน การหยุดชะงักของการขนส่งและการกระจายสินค้าส่งผลกระทบต่อทั้งปัจจัยการผลิตในการเกษตรและการขายพืชผลทำให้เกิดภาวะสินค้าขาดแคลนในเมืองและผลผลิตกลายเป็นส่วนเกินในฟาร์ม ผลผลิตปริมาณมหาศาลได้รับการขจัดทิ้งในขณะที่ผู้คนหลายล้านต้องหิวโหย พ่อค้าแม่ค้าริมถนนนอกระบบและคนที่ขายอาหารจากบ้านหลายสิบล้านคนทั่วภูมิภาคต้องสูญเสียวิถีการดำรงชีวิต แรงงานตามฤดูกาลและแรงงานข้ามชาติต้องเผชิญกับข้อจำกัดในการเดินทางทำให้เกิดการขาดแคลนแรงงานในไร่นา ฟาร์มและพื้นที่เพาะปลูกต่างๆ การสูญเสียค่าจ้างและวิถีชีวิตสร้างความสั่นคลอนต่อคนงานและครอบครัว ยิ่งในการแพร่ระบาดที่ทวีความรุนแรงขึ้นยิ่งทำให้เกิดความเสี่ยงต่อชีวิตมากขึ้น ในภาวะที่การแพร่ระบาดทวีความรุนแรงขึ้นนี้ เป็นที่รับรู้กันว่าคนงานในอุตสาหกรรมอาหาร อุตสาหกรรมแปรรูปเนื้อสัตว์และอุตสาหกรรมการผลิตเครื่องดื่มนั้นเป็นแรงงานที่สำคัญ – ผลิตอาหารเพื่อหล่อเลี้ยงประชาชน แรงงานที่อยู่ในอุตสาหกรรมที่สำคัญแต่ไม่ได้รับการยอมรับและเคารพว่าเป็นแรงงานที่สำคัญอย่างแท้จริง เมื่อเกิดการแพร่ระบาดนายจ้างส่วนใหญ่ดำเนินการอย่างรวดเร็วเพื่อควบคุมความเสี่ยงด้านชื่อเสียงและภาพลักษณ์ของแบรนด์ ในขณะที่การควบคุมการแพร่ระบาดของโควิด-19 และปกป้องคนงานกลับเป็นไปอย่างเชื่องช้า แม้ว่างานที่ไม่มั่นคงทำให้ความคุ้มครองของคนงานบั่นทอนและสร้างความเสี่ยงมากขึ้น การจ้างงานเอาท์ซอร์ส (outsourcing) จากภายนอกและการจ้างงานชั่วคราวกลับเพิ่มขึ้น ในขณะที่อุตสาหกรรมแปรรูปเนื้อสัตว์แสดงให้โลกเห็นแล้วว่าความเปราะบางของคนงานสร้างผลกำไรแต่ไม่ใช่กับความปลอดภัยของคนงาน แม้ว่าการระบาดในโรงงานอาหารและเครื่องดื่มจะเพิ่มขึ้น รัฐบาลและนายจ้างในหลายประเทศก็โจมตีสหภาพแรงงานและฉวยโอกาสในการลงโทษคนงานที่เป็นสมาชิกสหภาพแรงงาน สหภาพแรงงานต่อสู้เพื่อสิทธิในการทำงานที่ปลอดภัยในขณะที่สมาชิกสหภาพผลิตอาหารให้แก่โลก เพื่อตอบสนองต่อวิกฤตที่กำลังทวีความรุนแรงนี้ บริษัทระดับโลกด้านเกษตรและอุตสาหกรรมอาหารที่มีอำนาจเหนือระบบอาหารของโลกพยายามฟื้นฟูการค้าระหว่างประเทศและกอบกู้ผลกำไรกลับมา ระบบดังกล่าวที่ต้องการฟื้นฟูเป็นระบบที่อิงจากแบรนด์ที่มีมูลค่าสูงและราคาสินค้าโภคภัณฑ์; รายได้อันน้อยนิดและความยากจนในชนบท ผลผลิตสูงและสารกำจัดศัตรูพืชที่เป็นพิษ อุตสาหกรรมการเกษตรที่ไม่ยั่งยืนและทำลายสิ่งแวดล้อม เป็นระบบที่ก่อให้เกิดพิษจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืชถึง 3 ล้านรายทุกปีส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตมากกว่า 250,000 ราย ระบบที่ประชากร 820Continue reading “ป้องกันวิกฤติการณ์อาหารโลก –”

เอาชนะวิกฤต COVID-19:จัดตั้งเพื่อการฟื้นฟูการท่องเที่ยวอย่างปลอดภัย มั่นคง และยั่งยืน

เผชิญหน้ากับวิกฤต COVID-19 ในช่วงเก้าเดือนที่ผ่านมาการระบาดของโควิด -19 ส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อสุขภาพการดำรงชีวิต ค่าจ้างและความมั่นคงในการทำงานของพนักงานในโรงแรมและการท่องเที่ยว เกิดข้อจำกัดในการเดินทางระหว่างประเทศ การปิดชายแดนและการปิดเมืองทำให้การท่องเที่ยวจากต่างประเทศและในประเทศลดลงอย่างมาก ILO คาดการณ์ว่าในเดือนเมษายน 2563 แรงงานการท่องเที่ยวกว่า 15.3 ล้านคนใน 14 ประเทศในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกอาจตกงาน แต่สถานการณ์เลวร้ายลงอย่างรวดเร็วแรงงานการท่องเที่ยวในภูมิภาคกว่า 48 ล้านคนตกงานในช่วง 6 เดือนแรกของปี 2020 ในประเทศเช่น ประเทศไทย แรงงานการท่องเที่ยวกว่า 81% ตกงานและหน่วยงานด้านการท่องเที่ยวเพิ่งประกาศว่าจะมีคนงานท่องเที่ยวอีก 100,000 คนตกงาน ในเดือนกันยายน ในช่วงต้นเดือนกุมภาพันธ์ 2563 สมาชิกในกลุ่มโรงแรมและรีสอร์ทของไอยูเอฟมีอัตราการเข้าพักลดลงเนื่องจากการจองแบบกลุ่มจากต่างประเทศต้องยกเลิกไปทีละรายการ ในเดือนมีนาคมและเมษายนเนื่องจากอัตราการเข้าพักลดลงต่ำกว่า 15% และกิจกรรมสำคัญในภูมิภาครวมถึงโอลิมปิกที่โตเกียวก็ถูกเลื่อนออกไป ตั้งแต่เดือนเมษายนถึงเดือนกรกฎาคม สมาชิกของเราพยายามที่จะรักษาตำแหน่งงานไว้เนื่องจากไม่มีแขกจองเข้าพักที่โรงแรมเลยอีกทั้งโรงแรมและรีสอร์ทก็ปิดให้บริการชั่วคราว พนักงานส่วนใหญ่ถูกส่งกลับบ้านเพื่อใช้วันลาป่วยแบบได้ค่าจ้างที่เหลืออยู่และวันลารายปีแบบได้ค่าจ้าง จากนั้นก็พนักงานก็ตกอยู่ในสถานะ “ไม่ทำงาน ไม่จ่ายค่าแรง”  ในขณะที่พนักงานส่วนใหญ่ทำงานโดยไม่ได้รับค่าจ้าง สหภาพแรงงานของเราประสบความสำเร็จในหลายประเทศเพื่อที่จะเจรจาจ่ายค่าแรง 50% ถึง 75% ของค่าจ้างขั้นพื้นฐานและได้รับการจ่ายเต็มจำนวนในบางกรณี แต่ที่สหภาพของ Courtyard by Marriott ในบันดุง ประเทศอินโดนีเซียแย้งว่า 50%Continue reading “เอาชนะวิกฤต COVID-19:จัดตั้งเพื่อการฟื้นฟูการท่องเที่ยวอย่างปลอดภัย มั่นคง และยั่งยืน”